ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบค่าความปลอดภัยทางไฟฟ้า

ความสำคัญของแบบทดสอบฯ
ในโลกปัจจุบัน ผู้ผลิตไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ทุกรายควรพยายามอย่างเต็มที่เพื่อให้ผลิตภัณฑ์มีความปลอดภัย ผลิตภัณฑ์ทุกชิ้นควรออกแบบให้ผู้บริโภคไม่สามารถถูกไฟฟ้าช็อตได้ แม้ว่าผู้ใช้มีการผิดพลาดในการใช้งานก็ตาม แต่ก็ไม่น่าจะเกิดไฟฟ้าช็อตได้ เพื่อตอบสนองความต้องการด้านความปลอดภัยทั่วไป ควรใช้เครื่องทดสอบที่ครอบคลุมคุณลักษณะด้านความปลอดภัย เพื่อทดสอบคุณลักษณะด้านความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ในสถานการณ์ต่อไปนี้:
● ทดสอบฟังก์ชันการออกแบบ-เพื่อตรวจสอบว่าผลิตภัณฑ์ที่ออกแบบเป็นไปตามเงื่อนไขที่กำหนดหรือไม่
● การทดสอบข้อกำหนดการผลิต -เพื่อตรวจสอบว่าผลิตภัณฑ์เป็นไปตามมาตรฐานที่กำหนดหรือไม่
● ทดสอบการยืนยันการประกันคุณภาพ-เพื่อตรวจสอบว่าคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็นไปตามมาตรฐานของข้อบังคับด้านความปลอดภัยหรือไม่
● ทดสอบความปลอดภัยหลังการซ่อม-เพื่อตรวจสอบว่าผลิตภัณฑ์ที่ซ่อมแซมเป็นไปตามมาตรฐานของข้อบังคับด้านความปลอดภัยหรือไม่

ในการดำรงชีวิตของผู้คนนั้นต่างต้องการความสะดวกสบายในการชีวิตประจำวันทั้งสิ้น โดยเฉพาะการใช้ชีวิตภายในเคหสถานนั้น เครื่องไฟฟ้าภายในบ้านต่างๆ จึงมีส่วนสำคัญยิ่ง เช่น ทีวี ตู้เย็น เครื่องทำความเย็น เครื่องซักผ้า เตารีด เป็นต้น เพื่อให้ผู้ใช้งานนั้นปราศจากอันตรายในการใช้งานใดๆ ด้วยเหตุผลนี้

1. AC/DC Withstanding Voltage Testing (ACW/DCW) หรือ การทดสอบการทนแรงดันไฟฟ้าสูงกระแสตรง/กระแสสลับ (บางครั้งอาจถูกเรียกว่าเครื่อง Hi-Volt หรือ เครื่อง Hi-pot ก็ได้) ในการผลิตเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ไฟกระแสสลับ ส่วนมากจะทดสอบค่า ACW เท่านั้น

(สามารถดูรายละเอียดทั้งหมดได้ โดยการคลิกลิงค์ " การทดสอบการทนแรงดันไฟ ")

2. Insulation Resistance Testing (IR Testing) หรือการทดสอบค่าความต้านทานของฉนวน

(สามารถดูรายละเอียดทั้งหมดได้ โดยการคลิกลิงค์ " การทดสอบค่าความต้านทานของฉนวน ")

3. Leakage Current Testing (LC Testing) หรือการทดสอบค่ากระแสไฟรั่ว

(สามารถดูรายละเอียดทั้งหมดได้ โดยการคลิกลิงค์ " การทดสอบกระแสไฟรั่วไหล  ") 

4. Ground Bond Resistance Testing (GB หรือ Earth Resistance Testing) หรือการทดสอบค่าความต้านทานลงดิน

(สามารถดูรายละเอียดทั้งหมดได้ โดยการคลิกลิงค์ " การทดสอบค่าความต้านทานลงดิน ")

5. Power Consumption/Performance Testing (PWR Testing) หรือการวัดค่าการสิ้นเปลืองพลังงาน (VA) 

(สามารถดูรายละเอียดทั้งหมดได้ โดยการคลิกลิงค์ " การวัดค่าพลังงานสิ้นเปลือง ")

6. Low Voltage starting  Testing (ST/VS Testing) หรือการทดสอบการเริ่มการทำงานที่แรงดันต่ำ 

7. Loop Test (L-N) หรือการทดสอบค่าความต้านทานระหว่าง L และ N

 

ลักษณะแต่ละฟังก์ชั่นดังต่อไปนี้ 

ตามไฟล์แนบด้านล่าง


  • N_230x230_LCR Meter.png
    การวัดค่าความต้านทานขนาดต่ำ (ระดับมิลลิโอห์มหรือน้อยกว่า) 4-Wire Method to get accurate a low Resistance value หากเราต้องการวัดค่าความต้านทานของชิ้นงาน (ภาระ หรือ Load) ซึ่งเป...

  • แหล่งจ่ายไฟฟ้า Power Supply/Source แหล่งจ่ายไฟส่งกระแสไฟฟ้าไปยังอุปกรณ์หรือวงจร (โหลดไฟฟ้า) โดยจะมีรูปแบบการจ่ายไฟฟ้า 2 ลักษณะดังนี้ แหล่งจ่ายไฟกระแสตรง หรือ DC Power Supply แหล่ง...

  • ออสซิลโลสโคป (Oscilloscope) ออสซิลโลสโคปเป็นเครื่องมือที่ใช้แสดงกราฟสัญญาณไฟฟ้า กราฟจะแสดงการเปลี่ยนแปลงของสัญญาณเมื่อเวลาผ่านไป แกนแนวตั้ง (Y) แทนแรงดันไฟฟ้า และแกนแนวนอน (X) แทนเ...

  • คู่มือการซื้อมัลติมิเตอร์ มัลติมิเตอร์ส่วนใหญ่เป็นเครื่องมือที่เลือกใช้เมื่อคุณต้องวัดแรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า หรือความต้านทาน มัลติมิเตอร์มีต้นกำเนิดมาจากโวลต์-โอห์ม-มิลลิแอมป์มิเตอ...